Friday, June 18, 2010

มาตรฐานคุณภาพน้ำดื่มเพื่อบริโภค

คุณลักษณะ
ดัชนีคุณภาพน้ำ
หน่วย
ค่ามาตรฐาน
(เกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
ทางกายภาพ
1.สี (Colour)
ฮาเซนยูนิต(Hazen)
20
2.กลิ่น(Odour)
-
ไม่มีกลิ่น
(ไม่รวมกลิ่นคลอรีน)
3.ความขุ่น(Turbidity)
ซิลิกาสเกลยูนิต
(silica scale unit)
5
4.ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH)
-
6.5-8.5
ทางเคมี
5.ปริมาณสารทั้งหมด(Total Soilds)
มก./ล.
500
6.ความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness)
(คำนวณเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต)
มก./ล.
100
7.สารหนู (As)
มก./ล.
0.05
8.แบเรียม (Ba)
มก./ล.
1.0
9.แคดเมียม (Cd)
มก./ล.
0.005
10.คลอไรด์
(Cl, คำนวณเป็นคลอรีน)
มก./ล.
250
11.โครเมียม (Cr)
มก./ล.
0.05
12.ทองแดง (cu)
มก./ล.
1.0
13.เหล็ก (Fe)
มก./ล.
0.3
14.ตะกั่ว (Pb)
มก./ล.
0.05
15.แมงกานีส (Mn)
มก./ล.
0.05
16.ปรอท (Hg)
มก./ล.
0.002
17.ไนเตรต
(NO3-N, คำนวณเป็นไนโตรเจน)
มก./ล.
4.0
18.ฟีนอล (Phenols)
มก./ล.
0.001
19.ซิลิเนียม (Se)
มก./ล.
0.01
20.เงิน (Ag)
มก./ล.
0.05
21.ซัลเฟต (SO4)
มก./ล.
250
22.สังกะสี (Zn)
มก./ล.
5.0
23.ฟลูออไรด์ (F)
(คำนวณเป็นฟลูออรีน)
มก./ล.
1.5
24.อะลูมิเนียม
มก./ล.
0.2
25.เอบีเอส (Alkylbenzene Sulfonate)
มก./ล.
0.2
26.ไซยาไนด์
มก./ล.
0.1
ทางบัคเตรี
27.โคลิฟอร์ม (Coliform)
เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล.
2.2
28.อี.โคไล (E.Coli)
เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล.
ตรวจไม่พบ
29.จุลินทรีย์ทำให้เกิดโรค(Disease-causing bacteria)
เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล.
ตรวจไม่พบ

Water Quality Parameters/เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภค

พารามิเตอร์

หน่วย
คุณภาพน่ำดื่มของWHO
คุณภาพน้ำบริโภค
ในชนบท*
คุณภาพน้ำประปา
กรมอนามัย
(ปี 2543)**
ความเป็นกรด-ด่าง(pH)
pH
6.5 - 8.5
6.5 - 8.5
6.5 - 8.5
สี (Color)
แพลตตินั่มโคบอลท์
15
15
15
ความขุ่น (Turbidity)
NTU
5
10
10
ปริมาณสารละลายทั้งหมดที่เหลือ
จากการ
ระเหย (TDS)
mg/L (ppm)
1,000
1,000
1,000
ความกระด้าง (Hardness)
mg/L (ppm)
500
300
500
เหล็ก (Fe)
mg/L (ppm)
0.3
0.5
0.5
แมงกานีส (Mn)
mg/L (ppm)
0.1
0.3
0.3
ทองแดง (Cu)
mg/L (ppm)
1.0
1.0
1.0
สังกะสี (Zn)
mg/L (ppm)
5.0
5.0
3.0
ตะกั่ว (Pb)
mg/L (ppm)
0.05
0.05
0.03
โครเมี่ยม (Cr)
mg/L (ppm)
0.05
0.05
0.05
แคดเมี่ยม (Cd)
mg/L (ppm)
0.005
0.005
0.003
สารหนู (As)
mg/L (ppm)
0.05
0.05
0.01
ปรอท (Hg)
mg/L (ppm)
1.0
1.0
1.0
ซัลเฟต (SO4)
mg/L (ppm)
400
400
250
คลอไรด์ (Cl)
mg/L (ppm)
250
250
250
ไนเตรท (No3 as N)
mg/L (ppm)
10
10
50
ฟลูออไรด์ (F)
mg/L (ppm)
1.5
1.0
0.7
คลอรีนอิสระตกค้าง(Residual Free Chlorine)
mg/L (ppm)
-
0.2 - 0.5
0.2 - 0.5 ***
โคลิฟอร์มแบคทีเรีย
(Total Coliform Bacteria)
mpm/100 ml
0
10
0
ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย(Faecal Colifrom
Bacteria)
mpm/100 ml
0
0
0
* กำหนดโดยคณะกรรมการการบริหารโครงการจัดให้มีน้ำสะอาดในชนบททั่วราชอาณาจักร** ประกาศกรมอนามัย เรื่อง เกณฑ์คุณภาพน้ำประปา ปี 2543*** กำหนดให้มีปลายท่อ 0.2 - 0.5 mg/L ใช้ในระบบการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา


สิ่งปนเปื้อนในน้ำ
น้ำที่ผ่านการกรองโดยวิธีธรรมชาติ เป็นน้ำที่บริสุทธิ์มากกว่าโดยวิธีอื่นใด แต่อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีแร่ธาตุต่าง ๆ ละลายอยู่บ้าง ตามสิ่งที่น้ำนั้นได้ไหลผ่าน เช่น น้ำในลำธาร น้ำนิ่งในทะเลสาบ และที่ผ่านชั้นดินชั้นหินในดิน แต่แร่ธาตุที่ละลายในน้ำบางชนิดก็เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยทั่วไปแล้วผู้คนจะชอบดื่มน้ำแร่(mineral water) เนื่องจากมีรสชาติที่น่าพอใจ อย่างไรก็ตามถ้าแร่ธาตุในน้ำมีมากเกินไปจะคล้าย ๆ กับมีสารเคมีปนเปื้อนอยู่ ซึ่งไม่ปลอดภัยต่อการนำมาใช้อุปโภคบริโภคในชีวิตประจำวัน
เหล็กในน้ำ
เหล็กเป็นโลหะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในหินที่เกิดจากลาวา(igneous rock) และในหินทราย งานวิจัยทุกวันนี้ไม่ได้กล่าวถึงระดับของเหล็กในน้ำที่ส่งผลกระทบต่อร่างกาย แต่หากมีเหล็กในน้ำดื่มเกิน 0.3 ppm จะทำให้เกิดสีและรสที่ไม่พึงประสงค์ นอกจากนั้นยังทำให้เกิดคราบเกาะตามเสื้อผ้าและอ่างล้างอีกด้วย ในท่อส่งน้ำมักจะมีเหล็กละลายอยู่ในน้ำ เมื่อสัมผัสกับออกซิเจนจะกลายเป็นสารประกอบชนิดใหม่ที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า(visible) หรือที่เราพบเป็นประจำในรูปสนิมเหล็ก
ทองแดงในน้ำ
ในน้ำประปาทั่วไปเรามักไม่พบทองแดง แต่ถ้าพบทองแดงในน้ำดื่ม เมื่อบริโภคเข้าไปอาจส่งผลกระทบต่อร่างกายเกี่ยวกับทางเดินอาหารได้ นอกจากนั้นยังทำให้เกิดฟิล์มสีเขียวเกาะบนผิวของอ่างล้างและอ่างอาบน้ำด้วย ทาง EPA ได้กำหนดมาตรฐานของทองแดงไว้ว่า หากมีปริมาณทองแดงในน้ำ 1 ppm หรือมากกว่าจะต้องหาแนวทางในการจัดการอย่างถูกต้องทันที
ซัลเฟตในน้ำ
ซัลเฟต(หรือสารประกอบซัลเฟต) มักพบในน้ำผิวดินทั่วไปและในบ่อ ซัลเฟอร์ที่เกิดขึ้นในบ่อมีสาเหตุจากการย่อยสลายพืชน้ำ, ดิน และหิน แบคทีเรียชนิด Sulfur-Reducing Bacteria (SRB) จะเปลี่ยนซัลเฟตให้เป็นไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งมีกลิ่นคล้ายไข่เน่า จริง ๆ แล้วไฮโดรเจนซัลไฟด์ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายแต่อย่างใด แต่ทั้งรสและกลิ่นนั้นทำให้เกิดความรำคาญ เครื่องทำน้ำร้อนก็เป็นแหล่งไฮโดรเจนซัลไฟด์ด้วยเช่นกัน แท่งแมกนีเซียมถูกนำมาใช้ในเครื่องทำความร้อนเพื่อควบคุมการกัดกร่อน และสามารถลดการเกิดไฮโดรเจนซัลไฟด์ได้อีกด้วย แหล่งของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์แหล่งอื่น ๆ ได้แก่ ขยะ(sewage pollution) โดยกลิ่นจะชัดเจนและรุนแรงมากขึ้นถ้าถูกรดน้ำ และถ้ามีซัลเฟตปนเปื้อนในน้ำมากกว่า 250 ppm เมื่อบริโภคเข้าไปจะส่งผลให้ท้องเสียได้
คลอไรด์ในน้ำ
คลอไรด์ในน้ำจะอยู่ในรูป C l- ซึ่งเป็นสารอนินทรีย์ที่พบมาก ถ้ามีคลอไรด์ในน้ำ 250 ppm จะทำให้น้ำเริ่มมีรสเค็ม บริเวณชายหาดจะพบคลอไรด์ในบ่อที่มีน้ำชะดินจากแหล่งน้ำกร่อยเข้ามา คลอไรด์ปะปนมาในน้ำประปาโดยเครื่องกรองน้ำ (water softener units) ถ้าคลอไรด์มีปริมาณมากอาจเป็นอันตรายต่อท่อส่งน้ำ(ที่ทำจากโลหะ)ได้ และทำให้พืชน้ำเจริญ และในทางการแพทย์ได้กำหนดว่าโภชนาการที่ดีนั้นจะต้องมีปริมาณเกลือโซเดียมคลอไรด์ต่ำ


มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภค
มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภค
คุณลักษณะ
ดัชนีคุณภาพน้ำ
หน่วย
ค่ามาตรฐาน
เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม
เกณฑ์อนุโลมสูงสุด
ทางกายภาพ
1.สี(Colour)
ปลาตินัม-โคบอลต์
5
15
2.ความขุ่น(Turbidity)
หน่วยความขุ่น
5
20
3.ความเป็นกรด-ด่าง (pH)
-
7.0-8.5
6.5-9.2
ทางเคมี
4.เหล็ก (Fe)
มก./ล.
ไม่เกินกว่า 0.5
1.0
5.มังกานีส (Mn)
มก./ล.
ไม่เกินกว่า 0.3
0.5
6.ทองแดง (cu)
มก./ล.
ไม่เกินกว่า 1.0
1.5
7.สังกะสี (Zn)
มก./ล.
ไม่เกินกว่า 5.0
15.0
8.ซัลเฟต (SO4)
มก./ล.
ไม่เกินกว่า 200
250
9.คลอไรด์ (Cl)
มก./ล.
ไม่เกินกว่า 250
600
10.ฟลูออไรด์ (F)
มก./ล.
ไม่เกินกว่า 0.7
1.0
11.ไนเตรด (NO3)
มก./ล.
ไม่เกินกว่า 45
45
12.ความกระด้างทั้งหมด
(Total Hardness as CaCO3
มก./ล.
ไม่เกินกว่า 300
500
13.ความกระด้างถาวร
(Non carbonate hardness as CaCO3
มก./ล.
ไม่เกินกว่า 200
250
14.ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได้
(Total disslved solids)
มก./ล.
ไม่เกินกว่า 600
1,200
สารพิษ
15.สารหนู (As)
มก./ล.
ต้องไม่มีเลย
0.05
16.ไซยาไนด์ (CN)
มก./ล.
ต้องไม่มีเลย
0.1
17.ตะกั่ว (Pb)
มก./ล.
ต้องไม่มีเลย
0.05
18.ปรอท (Hg)
มก./ล.
ต้องไม่มีเลย
0.001
19.แคดเมียม (Cd)
มก./ล.
ต้องไม่มีเลย
0.01
20.ซิลิเนียม (Se)
มก./ล.
ต้องไม่มีเลย
0.01
ทางบักเตรี
21.บักเตรีที่ตรวจพบโดยวิธี
Standard plate count
โคโลนีต่อ ลบ.ซม.
ไม่เกินกว่า 500
-
22.บักเตรีที่ตรวจพบโดยวิธี
Most Probable Number (MPN)
เอ็ม.พี.เอ็น
ต่อ 100 ลบ.ซม.
น้อยกว่า 2.2
-
23.อี.โคไล (E.coli)
-
ต้องไม่มีเลย
-
แหล่งที่มา
:
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติน้ำบาดาล พ.ศ. 2520 เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการในทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 29 ง ลงวันที่ 13 เมษายน 2542









ตารางเปรียบเทียบ ความสามารถในการขจัดสารพิษต่างๆที่อยู่ในน้ำ
ของระบบการกรองแบบต่างๆ
อาร์โอ
เรซิล
คาร์บอน
ตกตะกอน
กลั่น
ต้ม
สิ่งปนเปื้อน
สาเหตุของโรค
ขจัดสารพิษ
ขจัดสารพิษ
ขจัดสารพิษ
ขจัดสารพิษ
ขจัดสารพิษ
ขจัดสารพิษ
คลอรีน
สารก่อมะเร็ง
***
*
***
*
***
*
คลอโรฟอร์ม
มะเร็ง
***
*
***
*
***
*
แบคทีเรีย
โรคติดต่อจากเชื้อแบคทีเรีย
***
*
**
*
***
***
ไวรัส
โรคติดต่อจากเชื้อไวรัส
***
*
*
*
***
***
ฟลูออไรด์
ฟันผุ
***
***
*
*
***
*
แคลเซียม
เก๊าท์
***
***
*
*
***
*
ยาปราบศัตรูพืช
นิ่ว,ลำไส้อักเสบ
***
*
*
***
***
*
ยาฆ่าแมลง
ตับ,อาหารเป็นพิษ
***
*
***
*
***
*
ตะกั่ว
ไต,ระบบปราสาท
***
***
*
*
***
*
โซเดียม
หัวใจ,ความดันโลหิต
***
***
*
*
***
*
ซัลเฟต,แมกเนเซียม
ทางเดินอาหาร
***
***
*
*
***
*
แคดเมียม
ปวดกระดูก
***
***
*
*
***
*
หมายเหตุ :: *** ออกได้หมด / ** ได้บางส่วน / * ออกไม่ได้


ตารางการทดสอบสารปนเปื้อนต่างๆที่อยู่ในน้ำโดยใช้เครื่องแยกสาร (Electrolysis)
สี
สิ่งเจือปน
อวัยวะที่ได้รับความเสียหาย
สารที่ลอยอยู่บนน้ำเป็นสีเขียว
คอปเปอร์ออกไซด์(สนิมคอปเปอร์)
สารประกอบของคลอรีน
ไต เส้นประสาทส่วนกลาง
สารที่เกิดโรคมะเร็ง
สารที่ลอยอยู่ในน้ำเป็นสีดำ
สารประกอบธาตุหนักของปรอท ตะกั่วต่างๆ
เส้นประสาทส่วนกลาง ตับ ไต
สารที่ลอยอยู่บนน้ำเป็นสีขาว
แคลเซียมออกไซด์
มักเนเซียมออกไซด์
ซิงค์ออกไซด์
อลูมิเนียมออกไซด์
อาเซนิค (สารหนู)
สารประกอบของกาว
แร่ใยหิน
โรคนิ่วที่เกิดจากสารผสมของแคลเซียม
คาร์บอเนตหรือมักเนเซียมคาร์บอเนต
ประสาท ตับ
ประสาท ตับ สารที่เกิดจากโรคมะเร็ง
โรคเท้าดำ สารที่เกิดโรคมะเร็ง
แบคทีเรีย สารพิษ สารแขวนลอย
สารที่เกิดโรคมะเร็ง
สารที่อยู่บนน้ำเป็นสีน้ำเงิน
อาลูมิเนียมซัลเฟต (สารส้ม)
สารอินทรีย์ฟอสฟอรัส
ระบบเส้นประสาท
ตับ ไต ประสาท
สารที่ลอยอยู่บนน้ำเป็นสีส้ม
เฟอร์รัสออกไซด์ หรือสารเหล็กละลายออกมาเนื่องจากอิเล็กโตรลิซิสนานเกินไป สารละลายเกลืออาเจียน
ท้องเดิน ปัสสาวะเป็นพิษ
ไม่มีสารลอยอยู่บนน้ำ
ไม่มีสารเจือปนใดๆ เป็นน้ำบริสุทธิ์ที่ใสสะอาด สีเหลืองทอง เป็นสีที่น้ำแยกธาตุออกมา
คุณดื่มได้อย่างมั่นใจ ปลอดภัยต่อสุขภาพ

Contact Us:Tell: 668-3034-0025

E-MailActivateWater@hotmail.com
Webhttp://waterconner.blogspot.com
FB: http://on.fb.me/1yIgVIK 

(International Support)

No comments:

Post a Comment

Note: Only a member of this blog may post a comment.