คุณลักษณะ
|
ดัชนีคุณภาพน้ำ
|
หน่วย
|
ค่ามาตรฐาน
(เกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
|
ทางกายภาพ
|
1.สี (Colour)
|
ฮาเซนยูนิต(Hazen)
|
20
|
2.กลิ่น(Odour)
|
-
|
ไม่มีกลิ่น
(ไม่รวมกลิ่นคลอรีน) | |
3.ความขุ่น(Turbidity)
|
ซิลิกาสเกลยูนิต
(silica scale unit) |
5
| |
4.ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH)
|
-
|
6.5-8.5
| |
ทางเคมี
|
5.ปริมาณสารทั้งหมด(Total Soilds)
|
มก./ล.
|
500
|
6.ความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness)
(คำนวณเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต) |
มก./ล.
|
100
| |
7.สารหนู (As)
|
มก./ล.
|
0.05
| |
8.แบเรียม (Ba)
|
มก./ล.
|
1.0
| |
9.แคดเมียม (Cd)
|
มก./ล.
|
0.005
| |
10.คลอไรด์
(Cl, คำนวณเป็นคลอรีน) |
มก./ล.
|
250
| |
11.โครเมียม (Cr)
|
มก./ล.
|
0.05
| |
12.ทองแดง (cu)
|
มก./ล.
|
1.0
| |
13.เหล็ก (Fe)
|
มก./ล.
|
0.3
| |
14.ตะกั่ว (Pb)
|
มก./ล.
|
0.05
| |
15.แมงกานีส (Mn)
|
มก./ล.
|
0.05
| |
16.ปรอท (Hg)
|
มก./ล.
|
0.002
| |
17.ไนเตรต
(NO3-N, คำนวณเป็นไนโตรเจน) |
มก./ล.
|
4.0
| |
18.ฟีนอล (Phenols)
|
มก./ล.
|
0.001
| |
19.ซิลิเนียม (Se)
|
มก./ล.
|
0.01
| |
20.เงิน (Ag)
|
มก./ล.
|
0.05
| |
21.ซัลเฟต (SO4)
|
มก./ล.
|
250
| |
22.สังกะสี (Zn)
|
มก./ล.
|
5.0
| |
23.ฟลูออไรด์ (F)
(คำนวณเป็นฟลูออรีน) |
มก./ล.
|
1.5
| |
24.อะลูมิเนียม
|
มก./ล.
|
0.2
| |
25.เอบีเอส (Alkylbenzene Sulfonate)
|
มก./ล.
|
0.2
| |
26.ไซยาไนด์
|
มก./ล.
|
0.1
| |
ทางบัคเตรี
|
27.โคลิฟอร์ม (Coliform)
|
เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล.
|
2.2
|
28.อี.โคไล (E.Coli)
|
เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล.
|
ตรวจไม่พบ
| |
29.จุลินทรีย์ทำให้เกิดโรค(Disease-causing bacteria)
|
เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล.
|
ตรวจไม่พบ
|
Water Quality Parameters/เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภค
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
* กำหนดโดยคณะกรรมการการบริหารโครงการจัดให้มีน้ำสะอาดในชนบททั่วราชอาณาจักร** ประกาศกรมอนามัย เรื่อง เกณฑ์คุณภาพน้ำประปา ปี 2543*** กำหนดให้มีปลายท่อ 0.2 - 0.5 mg/L ใช้ในระบบการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา
|
สิ่งปนเปื้อนในน้ำ
น้ำที่ผ่านการกรองโดยวิธีธรรมชาติ เป็นน้ำที่บริสุทธิ์มากกว่าโดยวิธีอื่นใด แต่อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีแร่ธาตุต่าง ๆ ละลายอยู่บ้าง ตามสิ่งที่น้ำนั้นได้ไหลผ่าน เช่น น้ำในลำธาร น้ำนิ่งในทะเลสาบ และที่ผ่านชั้นดินชั้นหินในดิน แต่แร่ธาตุที่ละลายในน้ำบางชนิดก็เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยทั่วไปแล้วผู้คนจะชอบดื่มน้ำแร่(mineral water) เนื่องจากมีรสชาติที่น่าพอใจ อย่างไรก็ตามถ้าแร่ธาตุในน้ำมีมากเกินไปจะคล้าย ๆ กับมีสารเคมีปนเปื้อนอยู่ ซึ่งไม่ปลอดภัยต่อการนำมาใช้อุปโภคบริโภคในชีวิตประจำวัน
เหล็กในน้ำ
เหล็กเป็นโลหะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในหินที่เกิดจากลาวา(igneous rock) และในหินทราย งานวิจัยทุกวันนี้ไม่ได้กล่าวถึงระดับของเหล็กในน้ำที่ส่งผลกระทบต่อร่างกาย แต่หากมีเหล็กในน้ำดื่มเกิน 0.3 ppm จะทำให้เกิดสีและรสที่ไม่พึงประสงค์ นอกจากนั้นยังทำให้เกิดคราบเกาะตามเสื้อผ้าและอ่างล้างอีกด้วย ในท่อส่งน้ำมักจะมีเหล็กละลายอยู่ในน้ำ เมื่อสัมผัสกับออกซิเจนจะกลายเป็นสารประกอบชนิดใหม่ที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า(visible) หรือที่เราพบเป็นประจำในรูปสนิมเหล็ก
ทองแดงในน้ำ
ในน้ำประปาทั่วไปเรามักไม่พบทองแดง แต่ถ้าพบทองแดงในน้ำดื่ม เมื่อบริโภคเข้าไปอาจส่งผลกระทบต่อร่างกายเกี่ยวกับทางเดินอาหารได้ นอกจากนั้นยังทำให้เกิดฟิล์มสีเขียวเกาะบนผิวของอ่างล้างและอ่างอาบน้ำด้วย ทาง EPA ได้กำหนดมาตรฐานของทองแดงไว้ว่า หากมีปริมาณทองแดงในน้ำ 1 ppm หรือมากกว่าจะต้องหาแนวทางในการจัดการอย่างถูกต้องทันที
ซัลเฟตในน้ำ
ซัลเฟต(หรือสารประกอบซัลเฟต) มักพบในน้ำผิวดินทั่วไปและในบ่อ ซัลเฟอร์ที่เกิดขึ้นในบ่อมีสาเหตุจากการย่อยสลายพืชน้ำ, ดิน และหิน แบคทีเรียชนิด Sulfur-Reducing Bacteria (SRB) จะเปลี่ยนซัลเฟตให้เป็นไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งมีกลิ่นคล้ายไข่เน่า จริง ๆ แล้วไฮโดรเจนซัลไฟด์ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายแต่อย่างใด แต่ทั้งรสและกลิ่นนั้นทำให้เกิดความรำคาญ เครื่องทำน้ำร้อนก็เป็นแหล่งไฮโดรเจนซัลไฟด์ด้วยเช่นกัน แท่งแมกนีเซียมถูกนำมาใช้ในเครื่องทำความร้อนเพื่อควบคุมการกัดกร่อน และสามารถลดการเกิดไฮโดรเจนซัลไฟด์ได้อีกด้วย แหล่งของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์แหล่งอื่น ๆ ได้แก่ ขยะ(sewage pollution) โดยกลิ่นจะชัดเจนและรุนแรงมากขึ้นถ้าถูกรดน้ำ และถ้ามีซัลเฟตปนเปื้อนในน้ำมากกว่า 250 ppm เมื่อบริโภคเข้าไปจะส่งผลให้ท้องเสียได้
คลอไรด์ในน้ำ
คลอไรด์ในน้ำจะอยู่ในรูป C l- ซึ่งเป็นสารอนินทรีย์ที่พบมาก ถ้ามีคลอไรด์ในน้ำ 250 ppm จะทำให้น้ำเริ่มมีรสเค็ม บริเวณชายหาดจะพบคลอไรด์ในบ่อที่มีน้ำชะดินจากแหล่งน้ำกร่อยเข้ามา คลอไรด์ปะปนมาในน้ำประปาโดยเครื่องกรองน้ำ (water softener units) ถ้าคลอไรด์มีปริมาณมากอาจเป็นอันตรายต่อท่อส่งน้ำ(ที่ทำจากโลหะ)ได้ และทำให้พืชน้ำเจริญ และในทางการแพทย์ได้กำหนดว่าโภชนาการที่ดีนั้นจะต้องมีปริมาณเกลือโซเดียมคลอไรด์ต่ำ
มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภค
|
|
แหล่งที่มา
|
:
|
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติน้ำบาดาล พ.ศ. 2520 เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการในทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 29 ง ลงวันที่ 13 เมษายน 2542
| ||||
ตารางเปรียบเทียบ ความสามารถในการขจัดสารพิษต่างๆที่อยู่ในน้ำ
ของระบบการกรองแบบต่างๆ
ของระบบการกรองแบบต่างๆ
อาร์โอ
|
เรซิล
|
คาร์บอน
|
ตกตะกอน
|
กลั่น
|
ต้ม
| ||
สิ่งปนเปื้อน
|
สาเหตุของโรค
|
ขจัดสารพิษ
|
ขจัดสารพิษ
|
ขจัดสารพิษ
|
ขจัดสารพิษ
|
ขจัดสารพิษ
|
ขจัดสารพิษ
|
คลอรีน
|
สารก่อมะเร็ง
|
***
|
*
|
***
|
*
|
***
|
*
|
คลอโรฟอร์ม
|
มะเร็ง
|
***
|
*
|
***
|
*
|
***
|
*
|
แบคทีเรีย
|
โรคติดต่อจากเชื้อแบคทีเรีย
|
***
|
*
|
**
|
*
|
***
|
***
|
ไวรัส
|
โรคติดต่อจากเชื้อไวรัส
|
***
|
*
|
*
|
*
|
***
|
***
|
ฟลูออไรด์
|
ฟันผุ
|
***
|
***
|
*
|
*
|
***
|
*
|
แคลเซียม
|
เก๊าท์
|
***
|
***
|
*
|
*
|
***
|
*
|
ยาปราบศัตรูพืช
|
นิ่ว,ลำไส้อักเสบ
|
***
|
*
|
*
|
***
|
***
|
*
|
ยาฆ่าแมลง
|
ตับ,อาหารเป็นพิษ
|
***
|
*
|
***
|
*
|
***
|
*
|
ตะกั่ว
|
ไต,ระบบปราสาท
|
***
|
***
|
*
|
*
|
***
|
*
|
โซเดียม
|
หัวใจ,ความดันโลหิต
|
***
|
***
|
*
|
*
|
***
|
*
|
ซัลเฟต,แมกเนเซียม
|
ทางเดินอาหาร
|
***
|
***
|
*
|
*
|
***
|
*
|
แคดเมียม
|
ปวดกระดูก
|
***
|
***
|
*
|
*
|
***
|
*
|
หมายเหตุ :: *** ออกได้หมด / ** ได้บางส่วน / * ออกไม่ได้
|
ตารางการทดสอบสารปนเปื้อนต่างๆที่อยู่ในน้ำโดยใช้เครื่องแยกสาร (Electrolysis)
สี
|
สิ่งเจือปน
|
อวัยวะที่ได้รับความเสียหาย
|
สารที่ลอยอยู่บนน้ำเป็นสีเขียว
|
คอปเปอร์ออกไซด์(สนิมคอปเปอร์)
สารประกอบของคลอรีน |
ไต เส้นประสาทส่วนกลาง
สารที่เกิดโรคมะเร็ง |
สารที่ลอยอยู่ในน้ำเป็นสีดำ
|
สารประกอบธาตุหนักของปรอท ตะกั่วต่างๆ
|
เส้นประสาทส่วนกลาง ตับ ไต
|
สารที่ลอยอยู่บนน้ำเป็นสีขาว
|
แคลเซียมออกไซด์
มักเนเซียมออกไซด์ ซิงค์ออกไซด์ อลูมิเนียมออกไซด์ อาเซนิค (สารหนู) สารประกอบของกาว แร่ใยหิน |
โรคนิ่วที่เกิดจากสารผสมของแคลเซียม
คาร์บอเนตหรือมักเนเซียมคาร์บอเนต ประสาท ตับ ประสาท ตับ สารที่เกิดจากโรคมะเร็ง โรคเท้าดำ สารที่เกิดโรคมะเร็ง แบคทีเรีย สารพิษ สารแขวนลอย สารที่เกิดโรคมะเร็ง |
สารที่อยู่บนน้ำเป็นสีน้ำเงิน
|
อาลูมิเนียมซัลเฟต (สารส้ม)
สารอินทรีย์ฟอสฟอรัส |
ระบบเส้นประสาท
ตับ ไต ประสาท |
สารที่ลอยอยู่บนน้ำเป็นสีส้ม
|
เฟอร์รัสออกไซด์ หรือสารเหล็กละลายออกมาเนื่องจากอิเล็กโตรลิซิสนานเกินไป สารละลายเกลืออาเจียน
|
ท้องเดิน ปัสสาวะเป็นพิษ
|
ไม่มีสารลอยอยู่บนน้ำ
|
ไม่มีสารเจือปนใดๆ เป็นน้ำบริสุทธิ์ที่ใสสะอาด สีเหลืองทอง เป็นสีที่น้ำแยกธาตุออกมา
|
คุณดื่มได้อย่างมั่นใจ ปลอดภัยต่อสุขภาพ
|
No comments:
Post a Comment
Note: Only a member of this blog may post a comment.